ไขความลับ! ใช้ Excel อีก 10 ปี ก็ยังไม่เก่ง ถ้ายังทำแบบ 5 ข้อนี้

ไขความลับ! ใช้ Excel อีก 10 ปี ก็ยังไม่เก่ง ถ้ายังทำแบบ 5 ข้อนี้

ไขความลับ! ใช้ Excel อีก 10 ปี ก็ยังไม่เก่ง ถ้ายังทำแบบ 5 ข้อนี้

1. ไม่ออกแบบข้อมูลที่จะจัดเก็บ

หลายคนที่ใช้ Excel อาจจะเคยชินกับการเข้ามาถึงแล้วก็บันทึกข้อมูลเลย คิดอะไรได้ตอนนั้นก็เขียนไปก่อน ไม่ได้ออกแบบว่าข้อมูลแต่ละตัวเราจะเก็บอะไร เพื่อนำไปใช้หาอะไร ทำให้ตอนสุดท้ายเวลาจะวิเคราะห์ข้อมูลสรุปต่าง ๆ เราต้องมานั่งคิดเยอะว่าจะค้นหาข้อมูลอันไหน? เอาว่าวิเคราะห์เชื่อมโยงกันยังไง ?
ซึ่งอาจทำให้สูตรที่ได้ออกมานั้นมีความซับซ้อน ใช้งานยากจนเกินไป หรือแย่ที่สุดก็คือไม่สามารถวิเคราะห์หาสิ่งที่ตรงตามความต้องการได้แบบ 100%

ยกตัวอย่างเช่น เมื่อนึกถึงการบันทึกรายรับ-รายจ่าย เราอาจจะคิดแบบไว ๆ ว่าสิ่งที่ต้องบันทึกคือ

  • วันที่

  • รายการ

  • จำนวนเงิน

  • หมายเหตุ

แค่นี้ก็เพียงพอแล้ว

1. ไม่ออกแบบข้อมูลที่จะจัดเก็บ

หลายคนที่ใช้ Excel อาจจะเคยชินกับการเข้ามาถึงแล้วก็บันทึกข้อมูลเลย คิดอะไรได้ตอนนั้นก็เขียนไปก่อน ไม่ได้ออกแบบว่าข้อมูลแต่ละตัวเราจะเก็บอะไร เพื่อนำไปใช้หาอะไร ทำให้ตอนสุดท้ายเวลาจะวิเคราะห์ข้อมูลสรุปต่าง ๆ เราต้องมานั่งคิดเยอะว่าจะค้นหาข้อมูลอันไหน? เอาว่าวิเคราะห์เชื่อมโยงกันยังไง ? ซึ่งอาจทำให้สูตรที่ได้ออกมานั้นมีความซับซ้อน ใช้งานยากจนเกินไป หรือแย่ที่สุดก็คือไม่สามารถวิเคราะห์หาสิ่งที่ตรงตามความต้องการได้แบบ 100%

ยกตัวอย่างเช่น เมื่อนึกถึงการบันทึกรายรับ-รายจ่าย เราอาจจะคิดแบบไว ๆ ว่าสิ่งที่ต้องบันทึกคือ

  • วันที่

  • รายการ

  • จำนวนเงิน

  • หมายเหตุ

แค่นี้ก็เพียงพอแล้ว

1. ไม่ออกแบบข้อมูลที่จะจัดเก็บ

หลายคนที่ใช้ Excel อาจจะเคยชินกับการเข้ามาถึงแล้วก็บันทึกข้อมูลเลย คิดอะไรได้ตอนนั้นก็เขียนไปก่อน ไม่ได้ออกแบบว่าข้อมูลแต่ละตัวเราจะเก็บอะไร เพื่อนำไปใช้หาอะไร ทำให้ตอนสุดท้ายเวลาจะวิเคราะห์ข้อมูลสรุปต่าง ๆ เราต้องมานั่งคิดเยอะว่าจะค้นหาข้อมูลอันไหน? เอาว่าวิเคราะห์เชื่อมโยงกันยังไง ?
ซึ่งอาจทำให้สูตรที่ได้ออกมานั้นมีความซับซ้อน ใช้งานยากจนเกินไป หรือแย่ที่สุดก็คือไม่สามารถวิเคราะห์หาสิ่งที่ตรงตามความต้องการได้แบบ 100%

ยกตัวอย่างเช่น เมื่อนึกถึงการบันทึกรายรับ-รายจ่าย เราอาจจะคิดแบบไว ๆ ว่าสิ่งที่ต้องบันทึกคือ

  • วันที่

  • รายการ

  • จำนวนเงิน

  • หมายเหตุ

แค่นี้ก็เพียงพอแล้ว

แต่ถ้าเราอยากหาว่า “สรุปค่าใช้จ่ายแต่ละหมวดในเดือนนั้นเป็นเท่าไหร่ ?” เราจะหายังไง ?

ซึ่งก็อาจจะยังพอหาได้ จากการใส่สูตรไล่บวกที่ละรายการแยกไป หรือหาความเหมือนจากข้อความ เช่น ถ้ามีคำว่า “กิน” จะนับว่าอยู่หมวดค่าอาหาร อะไรทำนองนี้ใช่มั้ยครับ ?

แต่ถามว่า “มันยากไปมั้ย?” ทำไมเราไม่ทำแค่ “เพิ่มคอลัมน์หมวด” ขึ้นมา ง่ายกว่าตั้งเยอะ

ถึงแม้ว่าการเก็บข้อมูลเพิ่มจะทำให้ดูเยอะ แต่สิ่งที่ได้มาก็คือเราทำงานง่ายขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลง่ายขึ้น ได้ผลลัพธ์ตรงตามที่ต้องการในตอนท้ายถูกต้องมั้ยครับ นี่จึงเป็นสาเหตุว่าทำไมเราถึงควรออกแบบการจัดเก็บข้อมูลนั่นเอง

โดยเทคนิคง่าย ๆ คือให้เราคิดก่อนว่า “ตอนสุดท้ายเราอยากรู้ข้อมูลอะไรบ้าง” แล้วก็ย้อนกลับมาคิดว่าถ้าอยากรู้ข้อมูลนั้น “เราจะต้องบันทึกอะไรบ้าง”

แต่อีกเรื่องที่อยากย้ำก็คือ ข้อมูลที่ผิดพลาด หรือ การบันทึกข้อมูลพลาด เราอาจจะคิดว่ามาจากการบันทึกไฟล์ หรือแปลงไฟล์ไปมา ซึ่งก็อาจจะเกิดขึ้นได้จริง แต่ส่วนใหญ่แล้วนั้นมาจากเราที่เป็นคนบันทึกข้อมูลเองทั้งนั้น เช่น การบันทึกข้อมูลที่ไม่มี Format อย่างวันที่ คนหนึ่งอาจจะเขียนเป็น 17/10/2024 อีกคนอาจจะเขียน 17 ต.ค. 2567 หรืออย่างการเว้นว่างข้อมูลไว้ก่อน ค่อยกลับมาบันทึก ซึ่งก็อาจทำให้ลืมหรือจำไม่ได้แล้วว่าจะต้องบันทึกเป็นค่าเท่าไหร่

ดังนั้นจึงอยากย้ำว่าอย่าลืมออกแบบข้อมูล จัดรูปแบบ จัด Format ของการบันทึกข้อมูลดี ๆ เพื่อให้เกิดข้อผิดพลาดจากการบันทึกข้อมูลที่น้อยที่สุด

2. กรอกข้อมูลแต่ไม่ยอมสร้างตาราง

ข้อนี้คิดว่าน่าจะยังเกิดขึ้นบ่อยในการใช้งาน Excel เพราะหลายคนมองว่าหน้าตามันก็ดูเป็นตารางอยู่แล้ว และการบันทึกแบบทั่ว ๆ ไปก็สามารถใช้งานได้ตามปกติ เลยไม่ได้คิดว่าจะต้องสร้างให้เป็นตาราง

2. กรอกข้อมูลแต่ไม่ยอมสร้างตาราง

ข้อนี้คิดว่าน่าจะยังเกิดขึ้นบ่อยในการใช้งาน Excel เพราะหลายคนมองว่าหน้าตามันก็ดูเป็นตารางอยู่แล้ว และการบันทึกแบบทั่ว ๆ ไปก็สามารถใช้งานได้ตามปกติ เลยไม่ได้คิดว่าจะต้องสร้างให้เป็นตาราง

2. กรอกข้อมูลแต่ไม่ยอมสร้างตาราง

ข้อนี้คิดว่าน่าจะยังเกิดขึ้นบ่อยในการใช้งาน Excel เพราะหลายคนมองว่าหน้าตามันก็ดูเป็นตารางอยู่แล้ว และการบันทึกแบบทั่ว ๆ ไปก็สามารถใช้งานได้ตามปกติ เลยไม่ได้คิดว่าจะต้องสร้างให้เป็นตาราง

ซึ่งเราอยากบอกตรงนี้เลยครับว่าสร้างเถอะ มันมีผลในการใช้งานเยอะเลย แล้วก็ไม่ได้ยากอะไรด้วยแค่ลากคลุมและกด Ctrl+T ก็ได้แล้ว แต่สิ่งที่จะได้กลับมานั้นมีเยอะมากไม่ว่าจะเป็นนี่ขนาดแค่ตัวอย่างนะ

เห็นมั้ยว่ามันช่วยลดการทำงานบางอย่างให้กับเราได้เยอะเลย แถมต่อให้เราบันทึกข้อมูลไปแล้วเราก็ยังมาทำให้เป็นตารางได้ เพราะฉะนั้นแล้วมาทำตารางกันเถอะนะครับ

  • เราสามารถใช้งาน Filter ข้อมูลได้เลยทันทีหลังจากการสร้างตาราง

  • ถ้าเราใช้เครื่องมือสร้างฟอร์มใน Excel เวลาเรากรอกข้อมูลใหม่เข้าไป ข้อมูลก็จะเพิ่มลงตารางในตำแหน่งล่างสุดให้เอง ไม่ต้องเลื่อนลงไปให้เสียเวลา

  • พิมพ์สูตรที่เดียวได้ทั้งคอลัมน์ ไม่ต้องลาก ไม่ต้องดึง

  • มีฟังก์ชัน Total, SUM, AVERAGE และอื่นๆ ให้ใช้งานพร้อมคำนวณให้เลย ไม่ต้องเขียนสูตรเอง

  • เปลี่ยนข้อมูลในตาราง กราฟ หรือส่วนอื่น ๆ ที่เชื่อมกันก็อัปเดตให้อัตโนมัติ

  • ดึงข้อมูลง่ายขึ้น เพราะระบุเป็นชื่อได้ ไม่ต้องจำเป็นช่วงเซลล์

นี่ขนาดแค่ตัวอย่างนะเห็นมั้ยว่ามันช่วยลดการทำงานบางอย่างให้กับเราได้เยอะเลย แถมต่อให้เราบันทึกข้อมูลไปแล้วเราก็ยังมาทำให้เป็นตารางได้ เพราะฉะนั้นแล้วมาทำตารางกันเถอะนะครับ

3. ท่องจำแต่สูตร แต่ไม่เข้าใจว่าต้องใส่ข้อมูลอะไร

นี่คือ 1 ปัญหาหลักเลยที่ทำให้หลายคนถอดใจในการใช้ Excel ไปเพราะมองว่าสูตรมันซับซ้อน ใช้งานยาก ซึ่งจริง ๆ แล้วมันไม่ได้ยากอย่างที่คิด แค่ต้องรู้เทคนิคนิดหน่อย ทีนี้มาลองเริ่มกันแบบนี้

สมมติเราแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานออกเป็น 3 ประเภท
1. คนที่ไม่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร แล้วก็ต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป
2. คนที่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร แต่ไม่รู้ว่าต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป
3. คนที่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร และรู้ว่าต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป

ซึ่งไม่ว่าใครจะเป็นประเภทที่ 1 หรือ 2 เราจะมาทำให้ทุกคนก้าวสู่ประเภทที่ 3 กันด้วยหลักง่าย ๆ

เริ่มที่คนประเภทที่ 1 กันก่อน โดยใครที่อยู่กลุ่มนี้ อย่างแรกคือต้องเริ่มทำความเข้าใจตั้งแต่ต้นก่อน ว่ามองยังไงว่าเราต้องใช้สูตรไหน หลักการง่าย ๆ คือ คุณลองนึกหรือพูดมันออกมาว่าเราต้องการทำอะไร เช่น เราต้องการ “บวก/รวม” ค่าใช้จ่ายในคอลัมน์ A ทั้งหมด ทีนี้ลองนึกต่อว่า คำว่า “บวก/รวม” ในภาษาอังกฤษมีอะไรบ้าง ?

Mix, Plus, Addition, Summation ? แล้วเราลองไปดูว่าสูตรใน Excel มีอันไหนที่ใกล้เคียงบ้าง และใช่ครับเราก็จะเจอฟังก์ชัน SUM() ผ่านมาแน่ ๆ

3. ท่องจำแต่สูตร แต่ไม่เข้าใจว่าต้องใส่ข้อมูลอะไร

นี่คือ 1 ปัญหาหลักเลยที่ทำให้หลายคนถอดใจในการใช้ Excel ไปเพราะมองว่าสูตรมันซับซ้อน ใช้งานยาก ซึ่งจริง ๆ แล้วมันไม่ได้ยากอย่างที่คิด แค่ต้องรู้เทคนิคนิดหน่อย ทีนี้มาลองเริ่มกันแบบนี้

สมมติเราแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานออกเป็น 3 ประเภท
1. คนที่ไม่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร แล้วก็ต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป
2. คนที่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร แต่ไม่รู้ว่าต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป
3. คนที่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร และรู้ว่าต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป

ซึ่งไม่ว่าใครจะเป็นประเภทที่ 1 หรือ 2 เราจะมาทำให้ทุกคนก้าวสู่ประเภทที่ 3 กันด้วยหลักง่าย ๆ

เริ่มที่คนประเภทที่ 1 กันก่อน โดยใครที่อยู่กลุ่มนี้ อย่างแรกคือต้องเริ่มทำความเข้าใจตั้งแต่ต้นก่อน ว่ามองยังไงว่าเราต้องใช้สูตรไหน หลักการง่าย ๆ คือ คุณลองนึกหรือพูดมันออกมาว่าเราต้องการทำอะไร เช่น เราต้องการ “บวก/รวม” ค่าใช้จ่ายในคอลัมน์ A ทั้งหมด ทีนี้ลองนึกต่อว่า คำว่า “บวก/รวม” ในภาษาอังกฤษมีอะไรบ้าง ?

Mix, Plus, Addition, Summation ? แล้วเราลองไปดูว่าสูตรใน Excel มีอันไหนที่ใกล้เคียงบ้าง และใช่ครับเราก็จะเจอฟังก์ชัน SUM() ผ่านมาแน่ ๆ

3. ท่องจำแต่สูตร แต่ไม่เข้าใจว่าต้องใส่ข้อมูลอะไร

นี่คือ 1 ปัญหาหลักเลยที่ทำให้หลายคนถอดใจในการใช้ Excel ไปเพราะมองว่าสูตรมันซับซ้อน ใช้งานยาก ซึ่งจริง ๆ แล้วมันไม่ได้ยากอย่างที่คิด แค่ต้องรู้เทคนิคนิดหน่อย ทีนี้มาลองเริ่มกันแบบนี้

สมมติเราแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานออกเป็น 3 ประเภท
1. คนที่ไม่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร แล้วก็ต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป
2. คนที่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร แต่ไม่รู้ว่าต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป
3. คนที่รู้ว่าต้องใช้สูตรอะไร และรู้ว่าต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป

ซึ่งไม่ว่าใครจะเป็นประเภทที่ 1 หรือ 2 เราจะมาทำให้ทุกคนก้าวสู่ประเภทที่ 3 กันด้วยหลักง่าย ๆ

เริ่มที่คนประเภทที่ 1 กันก่อน โดยใครที่อยู่กลุ่มนี้ อย่างแรกคือต้องเริ่มทำความเข้าใจตั้งแต่ต้นก่อน ว่ามองยังไงว่าเราต้องใช้สูตรไหน หลักการง่าย ๆ คือ คุณลองนึกหรือพูดมันออกมาว่าเราต้องการทำอะไร เช่น เราต้องการ “บวก/รวม” ค่าใช้จ่ายในคอลัมน์ A ทั้งหมด ทีนี้ลองนึกต่อว่า คำว่า “บวก/รวม” ในภาษาอังกฤษมีอะไรบ้าง ?

Mix, Plus, Addition, Summation ? แล้วเราลองไปดูว่าสูตรใน Excel มีอันไหนที่ใกล้เคียงบ้าง และใช่ครับเราก็จะเจอฟังก์ชัน SUM() ผ่านมาแน่ ๆ

ทีนี้ลองใหม่สมมติว่าเราอยากหา “ค่าเฉลี่ย” เราต้องนึกถึงคำว่า…ใช่แล้วครับ Average ซึ่งถ้าเราลองไปหาใน Excel ก็จะมีฟังก์ชัน AVERAGE() อยู่ด้วย เริ่มเห็นรึยังครับว่าจริง ๆ เราสามารถเริ่มต้นได้ง่าย ๆ จากการแปลภาษาไทยไปเป็นภาษาอังกฤษก่อนได้ แล้วก็ไปเทียบว่ามันมีชื่อฟังก์ชันไหนที่ตรงกันบ้าง แค่นี้เราก็จะพอเดาได้แล้วควรใช้สูตรอะไร

แต่จริง ๆ แล้วสำหรับการใช้งานเบื้องต้น Excel มีสูตรที่ใช้บ่อย ๆ อยู่จริง ๆ ไม่กี่สูตรหรอกครับเช่น

  • SUM, SUMIF - หาผลรวม / หาผลรวมแบบมีเงื่อนไข

  • AVERAGE - หาค่าเฉลี่ย

  • MIN / MAX - หาค่าน้อยสุด มากสุด

  • COUNT, COUNTA, COUNTBLANK, COUNTIF - สูตรการนับจำนวนในแบบต่าง ๆ

  • IF, IFS - การกำหนดเงื่อนไข

  • VLOOKUP, XLOOKUP - สูตรค้นหาข้อมูล/ช่วงข้อมูล

หรืออย่างบางงานอาจจะมีฟังก์ชันที่ต้องใช้เพิ่มเติมเช่น DATE, NETWORKDAYS อะไรแบบนี้ ซึ่งถ้าเราลองใช้หลักการก่อนหน้านี้อ่านดี ๆ ก็จะพอเดาออกว่ามันใชัทำอะไรถูกมั้ยครับ ?

ทีนี้พอเราเริ่มจะเดาทางออกละว่าต้องใช้สูตรอะไร หรือพอจะค้นหาได้แล้ว เราก็จะเข้าสู่คนประเภทที่ 2 ซึ่งในขั้นนี้สิ่งที่เราอยากให้ทุกคนทำเลยก็คือ ลองตั้งคำถามกับตัวเองก่อนว่าที่เราไม่รู้ว่าแต่ละสูตรต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไปเนี่ย “เราลองอ่านคู่มือการใช้งานหรือยัง?”

เพราะการอ่านคู่มือคือสิ่งที่จะตอบเราได้ไวที่สุดแล้วว่าต้องใส่ข้อมูลอะไรลงไป บางคนอาจจะคิดว่าการอ่านคู่มือนั้นเสียเวลานาน แต่อยากบอกว่าถ้าลองมองดี ๆ สิ่งที่นานคือเวลาที่เราใช้ในการทำแบบที่ไม่รู้มากกว่า หรือแย่ที่สุดก็คือเราเสียเวลาในการทำงานไปโดยที่ไม่ได้ใช้สูตรช่วยซึ่งถ้ารวม ๆ ดูแล้วน่าจะมากกว่าเวลาที่เราจะใช้เพื่ออ่านคู่มือเสียอีก

ดังนั้นมาเปลี่ยนเป็น เสียเวลาน้อย ๆ อ่านข้อมูลเยอะ ๆ เพื่อลดการทำงานเยอะ ๆ ให้เหลือน้อย ๆ กันดีกว่า แล้วพอเราเริ่มเข้าใจ ก็ไปลองฝึก ลองใช้งานกับข้อมูลหลาย ๆ แบบดู อาจจะจำลองขึ้นมาก็ได้ ทีนี้พอเราเริ่มคล่อง เราก็จะก้าวเข้าสู่คนประเภทที่ 3 แล้ว

  1. ใช้ Excel แบบเคยชิน ไม่ลงทุนเวลาเรียนรู้สูตรอื่น ๆ

แต่พอเราเริ่มเข้าสู่คนประเภทที่ 3 ปัญหาถัดมาที่หลายคนมักจะติดอยู่ก็คือ เราจะกลายเป็นคนที่ติดใช้แต่สูตรเดิม ๆ ไม่ออกนอกกรอบ ไม่ลองใช้สูตรใหม่ ๆ เพราะอาจจะรู้สึกว่าบางสูตรมันซับซ้อนเกิน

แต่อยากให้คิดว่า ยิ่งสูตรมันซับซ้อน แปลว่ามันจะช่วยลดการทำงานบางอย่างได้มาก เพราะบางสูตรจะช่วยลดขั้นตอนในการคำนวณให้เหลือแค่สั้น ๆ เช่น สมมติว่าเราจะหาค่ารากที่ 2 ของ 6 เราจะหายังไงถ้าไม่มีสูตร SQRT() ? แต่พอมีสูตรปุ๊บ เราไม่จำเป็นต้องจำเลยถูกมั้ยครับว่าหายังไง แต่รู้แค่ว่าใส่สูตร SQRT(6) เราก็ได้ผลลัพธ์ออกมาแล้ว เนี่ยแหละครับคอนเซปง่าย ๆ ของการสร้างสูตรขึ้นมาให้เราได้ใช้

ดังนั้นย้อนกลับไปก่อนหน้านี้ที่เราเคยบอกว่าการลองเสียเวลาอ่านคู่มือนั้นจะลดงานเราได้มาก ก็มาใช้กับข้อได้เหมือนกันเลย ถึงแม่ว่ามันจะซับซ้อน แต่ถ้าเราอ่านสักนิด ดูตัวอย่างสักหน่อย เราก็จะพอมองภาพการใช้งานออกแล้ว

  1. ใช้ Excel แบบเคยชิน ไม่ลงทุนเวลาเรียนรู้สูตรอื่น ๆ

แต่พอเราเริ่มเข้าสู่คนประเภทที่ 3 ปัญหาถัดมาที่หลายคนมักจะติดอยู่ก็คือ เราจะกลายเป็นคนที่ติดใช้แต่สูตรเดิม ๆ ไม่ออกนอกกรอบ ไม่ลองใช้สูตรใหม่ ๆ เพราะอาจจะรู้สึกว่าบางสูตรมันซับซ้อนเกิน

แต่อยากให้คิดว่า ยิ่งสูตรมันซับซ้อน แปลว่ามันจะช่วยลดการทำงานบางอย่างได้มาก เพราะบางสูตรจะช่วยลดขั้นตอนในการคำนวณให้เหลือแค่สั้น ๆ เช่น สมมติว่าเราจะหาค่ารากที่ 2 ของ 6 เราจะหายังไงถ้าไม่มีสูตร SQRT() ? แต่พอมีสูตรปุ๊บ เราไม่จำเป็นต้องจำเลยถูกมั้ยครับว่าหายังไง แต่รู้แค่ว่าใส่สูตร SQRT(6) เราก็ได้ผลลัพธ์ออกมาแล้ว เนี่ยแหละครับคอนเซปง่าย ๆ ของการสร้างสูตรขึ้นมาให้เราได้ใช้

ดังนั้นย้อนกลับไปก่อนหน้านี้ที่เราเคยบอกว่าการลองเสียเวลาอ่านคู่มือนั้นจะลดงานเราได้มาก ก็มาใช้กับข้อได้เหมือนกันเลย ถึงแม่ว่ามันจะซับซ้อน แต่ถ้าเราอ่านสักนิด ดูตัวอย่างสักหน่อย เราก็จะพอมองภาพการใช้งานออกแล้ว

  1. ใช้ Excel แบบเคยชิน ไม่ลงทุนเวลาเรียนรู้สูตรอื่น ๆ

แต่พอเราเริ่มเข้าสู่คนประเภทที่ 3 ปัญหาถัดมาที่หลายคนมักจะติดอยู่ก็คือ เราจะกลายเป็นคนที่ติดใช้แต่สูตรเดิม ๆ ไม่ออกนอกกรอบ ไม่ลองใช้สูตรใหม่ ๆ เพราะอาจจะรู้สึกว่าบางสูตรมันซับซ้อนเกิน

แต่อยากให้คิดว่า ยิ่งสูตรมันซับซ้อน แปลว่ามันจะช่วยลดการทำงานบางอย่างได้มาก เพราะบางสูตรจะช่วยลดขั้นตอนในการคำนวณให้เหลือแค่สั้น ๆ เช่น สมมติว่าเราจะหาค่ารากที่ 2 ของ 6 เราจะหายังไงถ้าไม่มีสูตร SQRT() ? แต่พอมีสูตรปุ๊บ เราไม่จำเป็นต้องจำเลยถูกมั้ยครับว่าหายังไง แต่รู้แค่ว่าใส่สูตร SQRT(6) เราก็ได้ผลลัพธ์ออกมาแล้ว เนี่ยแหละครับคอนเซปง่าย ๆ ของการสร้างสูตรขึ้นมาให้เราได้ใช้

ดังนั้นย้อนกลับไปก่อนหน้านี้ที่เราเคยบอกว่าการลองเสียเวลาอ่านคู่มือนั้นจะลดงานเราได้มาก ก็มาใช้กับข้อได้เหมือนกันเลย ถึงแม่ว่ามันจะซับซ้อน แต่ถ้าเราอ่านสักนิด ดูตัวอย่างสักหน่อย เราก็จะพอมองภาพการใช้งานออกแล้ว

Basic Excel for Business
ถ้าเรียนเองไม่เข้าใจ หรืออยากให้เราช่วยสอน
ติดต่อ Tech Ninja ได้เลย!

Basic Excel for Business
ถ้าเรียนเองไม่เข้าใจ หรืออยากให้เราช่วยสอนติดต่อ Tech Ninja ได้เลย!

Basic Excel for Business
ถ้าเรียนเองไม่เข้าใจ หรืออยากให้เราช่วยสอน ติดต่อ Tech Ninja ได้เลย!

Basic Excel for Business
ถ้าเรียนเองไม่เข้าใจ หรืออยากให้เราช่วยสอนติดต่อ Tech Ninja ได้เลย!

Basic Excel for Business
ถ้าเรียนเองไม่เข้าใจ หรืออยากให้เราช่วยสอน ติดต่อ Tech Ninja ได้เลย!

เริ่มปูพื้นฐานการใช้ Excel ให้กับทีม ลดขั้นตอนการทำงานองค์กรให้เร็วและมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น ด้วยเครื่องมือและทักษะที่ตรงจุด

เริ่มปูพื้นฐานการใช้ Excel ให้กับทีม ลดขั้นตอนการทำงานองค์กรให้เร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ด้วยเครื่องมือและทักษะที่ตรงจุด

เริ่มปูพื้นฐานการใช้ Excel ให้กับทีม ลดขั้นตอนการทำงานองค์กรให้เร็วและมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ด้วยเครื่องมือและทักษะที่ตรงจุด

เริ่มปูพื้นฐานการใช้ Excel ให้กับทีม ลดขั้นตอนการทำงานองค์กรให้เร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยเครื่องมือและทักษะ
ที่ตรงจุด

เริ่มปูพื้นฐานการใช้ Excel ให้กับทีม ลดขั้นตอนการทำงานองค์กรให้เร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยเครื่องมือและ
ทักษะที่ตรงจุด

ดูหลักสูตร

ดูหลักสูตร

ดูหลักสูตร

ดูหลักสูตร

ดูหลักสูตร

ดูหลักสูตร

  1. คิดว่า Excel ทำได้แค่การบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูล

ภาพจำของการใช้ Excel ของบางคนอาจจะจำว่ามันคือโปรแกรมหรือเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการข้อมูล ทำตารางข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลแค่นั้น แต่จริง ๆ แล้ว Excel สามารถเป็นได้มากกว่านั้น

เราสามารถประยุกต์ใช้งาน Excel ร่วมกับ Word ในการสร้างไฟล์เอกสาร หรือส่งอีเมลจำนวนมากในครั้งเดียวได้ โดยไม่จำเป็นต้องมานั่งทำทีละไฟล์ เพียงแค่เรามีรายชื่อ มีข้อมูลของแต่ละคนก็สามารถทำ Mail Merge ได้แล้ว ประหยัดเวลาในการพิมพ์เอกสารประกาศ หรือเอกสารเชิญชวนต่าง ๆ ที่มีแพทเทิร์นเดียวกัน

ยกระดับการทำงานขององค์กรด้วยพลังแห่ง AI ช่วยให้ทีมของคุณเข้าใจและใช้งานเทคโนโลยี AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดขั้นตอนซ้ำซ้อน และปรับปรุงกระบวนการต่าง ๆ ให้ทันสมัย
ตอบโจทย์ความต้องการของธุรกิจ ปูพื้นฐานสู่การเปลี่ยนแปลงการทำงานอย่างชาญฉลาดและสร้างสรรค์ผลลัพธ์ที่เหนือกว่า!

  1. คิดว่า Excel ทำได้แค่การบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูล

ภาพจำของการใช้ Excel ของบางคนอาจจะจำว่ามันคือโปรแกรมหรือเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการข้อมูล ทำตารางข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลแค่นั้น แต่จริง ๆ แล้ว Excel สามารถเป็นได้มากกว่านั้น

เราสามารถประยุกต์ใช้งาน Excel ร่วมกับ Word ในการสร้างไฟล์เอกสาร หรือส่งอีเมลจำนวนมากในครั้งเดียวได้ โดยไม่จำเป็นต้องมานั่งทำทีละไฟล์ เพียงแค่เรามีรายชื่อ มีข้อมูลของแต่ละคนก็สามารถทำ Mail Merge ได้แล้ว ประหยัดเวลาในการพิมพ์เอกสารประกาศ หรือเอกสารเชิญชวนต่าง ๆ ที่มีแพทเทิร์นเดียวกัน

หรือจะเป็นการเชื่อมตารางข้อมูลหรือกราฟแสดงผลไปยัง Word หรือ PowerPoint ก็สามารถทำได้ แถมเมื่อมีการอัปเดตข้อมูลในตาราง ข้อมูลใน Word และ PowerPoint ก็จะอัปเดตให้อัตโนมัติโดยที่เราไม่ต้องมานั่งไล่แก้เองเลย ใครที่เป็นสายทำเอกสารวิจัย, เอกสารทางวิชาการ หรือการสรุปผลต่าง ๆ ฟีเจอร์นี้ถือว่าน่าจะช่วยประหยัดเวลาได้ค่อนข้างเยอะเลยทีเดียว

ยกระดับการทำงานขององค์กรด้วยพลังแห่ง AI ช่วยให้ทีมของคุณเข้าใจและใช้งานเทคโนโลยี AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดขั้นตอนซ้ำซ้อน และปรับปรุงกระบวนการต่าง ๆ ให้ทันสมัย
ตอบโจทย์ความต้องการของธุรกิจ ปูพื้นฐานสู่การเปลี่ยนแปลงการทำงานอย่างชาญฉลาดและสร้างสรรค์ผลลัพธ์ที่เหนือกว่า!

และนี่ก็คือ 5 ข้อที่ทำให้คุณหรือทีมของคุณใช้ Excel ไม่เก่งหรือย่ำอยู่ที่เดิม ยังไงก็หวังว่าจะเป็นแนวทางให้กับใครหลายคนได้องพัฒนาสกิลในการใช้งาน Excel ของตัวเองให้ดีขึ้นได้นะครับ แต่ถ้าใครต้องการผู้ช่วย แน่นอนครับว่าติดต่อ Tech Ninja มาได้เลยที่ techninja.in.th หรือจะทักเข้ามาสอบถามที่หน้าเพจ Facebook ก็ได้เช่นกันน้า นิน~

จันทร์ - ศุกร์ 09.30 - 18.00 น.

080-5757-942 / 02-096-2899 (ต่อ 3)

techninja@borntodev.com

สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 - ข้อมูลและเนื้อหาทั้งหมด - บริษัท บอร์นทูเดฟ จำกัด